ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 คำถามคำตอบ IC Call Center  : งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
   เครื่องจักร | สั่งปล่อยวัตถุดิบ | ตัดบัญชีวัตถุดิบ | ฐานข้อมูลวัตถุดิบ | ฝึกอบรมสัมมนา | ลงทะเบียนฝึกอบรม | บัญชี/การเงิน

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

ถาม 1 : เนื่องจากบริษัทได้รับอนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบจากสำนักงานทำการบันทึกข้อมูลกับส่วนงานฐานข้อมูลของสมาคมแล้ว สอบถามว่าบริษัทจะทำการสั่งปล่อยวัตถุดิบจะต้องคีย์ข้อมูลวัตถุดิบที่เป็นชื่อหลัก หรือ ชื่อรอง
ตอบการสั่งปล่อยวัตถุดิบระบบกำหนดให้ใช้ได้ทั้งชื่อหลักหรือชื่อรอง ในการสั่งปล่อยซึ่งเป็นชื่อที่ตรง ตามอินวอยซ์ขาเข้า โดยคีย์ข้อมูลในช่อง DESC 1 ซึ่งหากบริษัทมีส่วนขยายให้คีย์ข้อมูลเพิ่มเติมไว้ที่ DESC 2

ถาม 2 : การสั่งปล่อยวัตถุดิบมีทั้งหมดกี่ประเภท
ตอบการสั่งปล่อยมีทั้งหมด 5 ประเภท ซึ่งแบ่งเป็น
งานก่อนเดินพิธีการ ซึ่งเป็นงานแบบไร้เอกสาร ได้แก่
1.การสั่งปล่อยแบบยกเว้นอากรขาเข้า (BIRTIMP1)
2.การสั่งปล่อยแบบใช้ธนาคารค้ำประกัน (BIRTIMP2)
งานหลังเดินพิธีการ ซึ่งเป็นงานแบบมีเอกสาร ได้แก่
3.การสั่งปล่อยแบบถอนค้ำประกันเต็มจำนวน (BIRTIMP3)
4.การสั่งปล่อยแบบถอนค้ำประกันไม่เต็มจำนวน (BIRTIMP4)
5.สั่งปล่อยแบบขอคืนอากร (BIRTIMP5)


ถาม 3 : กรณีบริษัทมีอินวอยซ์ขาเข้า แต่พบว่าวัตถุดิบที่นำเข้ำยังไม่ได้รับอนุมัติจาก สกท.กรณีเช่นนี้บริษัทจะสามารถดำเนินการอย่างไรได้บ้าง
ตอบบริษัทสามารถดำเนินการได้ 2 แบบคือ
1.ขอใช้ธนาคารค้ำประกัน โดยทำการสั่งปล่อยแบบค้ำประกันเข้ามาในระบบ Online โดยบันทึกไฟล์ (BIRTIMP2) หลังจากได้รับอนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบแล้ว บริษัทสามารถสั่งปล่อยแบบค้ำประกันได้ภายหลัง
2.ขอสงวนสิทธิ์ BOI โดยทำการชำระภาษีอากรกับกรมศุลกากร ซึ่งต้องแจ้งขอสงวนสิทธิ์ BOI และ สามารถสั่งปล่อยแบบขอคืนอากรได้ภายหลัง


ถาม 4 : ยื่นคำร้องยกเลิกงานสั่งปล่อยวัตถุดิบแล้ว ระบบแจ้งว่า รอตอบกลับจากศุลกากร แสดงว่าได้รับการอนุมัติแล้วหรือไม่ ?
ตอบบริษัทสามารถดำเนินการได้ 2 แบบคือ
1.ขอใช้ธนาคารค้ำประกัน โดยทำการสั่งปล่อยแบบค้ำประกันเข้ามาในระบบ Online โดยบันทึกไฟล์ (BIRTIMP2) หลังจากได้รับอนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบแล้ว บริษัทสามารถสั่งปล่อยแบบค้ำประกันได้ภายหลัง
2. ขอสงวนสิทธิ์ BOI โดยทำการชำระภาษีอากรกับกรมศุลกากร ซึ่งต้องแจ้งขอสงวนสิทธิ์ BOI และ สามารถสั่งปล่อยแบบขอคืนอากรได้ภายหลัง 4. สอบถามเรื่องการกำหนดวันนำเข้ำครั้งแรก จะต้องแนบเอกสารอะไรบ้างเพื่อประกอบการพิจารณา เอกสารที่ใช้ประกอบได้แก่ 1. แบบฟอร์มกำหนดวันนำเข้ำครั้งแรก ดาวน์โหลด www.ic.or.th 2. แบบฟอร์มยืนยันวันนำเข้ำครั้งแรก ดาวน์โหลด www.ic.or.th 3. สำเนาบัตรส่งเสริม 4. สำเนาใบขนสินค้ำขาเข้า (กรณีมีค้ำประกัน/สงวนสิทธิ์) 5. สำเนา BL หรือ Air way bill


ถาม 5 : งานก่อนเดินพิธีการและงานหลังเดินพิธีการมีขั้นตอนการทำงานที่ต่างกันอย่างไร
ตอบงานก่อนเดินพิธีการ
บริษัทสามารถใช้บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง เข้าระบบ IC ONLINE SYSTEM ระบบจะทำการตรวจสอบข้อมูลกรณีไม่ผ่าน ระบบแจ้งกลับบริษัทเพื่อทำการแก้ไข หากข้อมูลถูกต้องระบบ ประมวลอัตโนมัติ และส่งข้อมูล eBXML ถึงกรมศุลกากร เพื่อให้บริษัทไปดำเนินพิธีการต่อไป
งานหลังเดินพิธีการ
บริษัททำการส่งไฟล์ข้อมูลเข้าระบบ IC ONLINE SYSTEM พร้อมแนบไฟล์ใบ ขนสินค้ำขาเข้า สมาคมรับข้อมูลพร้อมเอกสาร เสนอ เจ้าหน้าที่ BOI พิจารณา (บริการภายใน 3 ชั่วโมง) กรณี ผ่านการอนุมัติ บริษัทจะได้รับหนังสืออนุมัติขอคืนอากร หรือ ขอถอนค้ำประกัน เพื่อนำไปเดินพิธีการศุลกากร ต่อไป


ถาม 6 : กรณีบริษัทส่งคำร้องสั่งปล่อยเข้ำระบบ IC ONLINE SYSTEM ระบบไม่อนุมัติแจ้งว่าชื่อรองไม่ตรงกับฐานข้อมูล กรณีนี้บริษัทจะต้องดำเนินการอย่างไร
ตอบบริษัทจะต้องขออนุมัติเพิ่มชื่อรองกับ สกท. และนำข้อมูลมาบันทึกในระบบฐานข้อมูลของสมาคม

ถาม 7 : กรณีบริษัทสั่งปล่อยวัตถุดิบประเภทยกเว้นอากรปกติ ซึ่งระบบแจ้งผลอนุมัติแล้ว แต่เนื่องจากบริษัทพบว่าคีย์ เลขที่อินวอยซ์ไม่ถูกต้อง จึงต้องการยกเลิกการสั่งปล่อยดังกล่าวจะต้องดำเนินการอย่างไร
ตอบก่อนอื่นบริษัทต้องทราบก่อนว่าคำร้องดังกล่าวได้ถูกนำไปเดินพิธีการศุลกากรหรือยัง
กรณีที่ยังไม่เดินพิธีการ
บริษัทสามารถส่งคำร้องไฟล์ BIRTCAN เพื่อขอยกเลิกเข้ามาในระบบ IC ONLINE SYSTEM ระบบจะตรวจสอบข้อมูลกับกรมศุลกากรอีกครั้งหากพบว่ายังไม่เดินพิธีการระบบอนุมัติให้ยกเลิกอัตโนมัติ
กรณีเดินพิธีการแล้ว
บริษัทไม่สามารถยกเลิกได้ ซึ่ง สกท. จะมีคำสั่งให้เพิกถอนรายการวัตถุดิบ บางส่วน บริษัทจะต้องชำระภาษีอากรกับกรมศุลกากร


ถาม 8 : กรณีบริษัทพบว่าระยะเวลานำเข้าจะสิ้นสุดสิทธิ์แล้ว บริษัทควรจะดำเนินการขอขยายระยะเวลาก่อนสิ้นสุดสิทธ์เท่าไหร่
ตอบบริษัทควรดำเนินกำรขอขยายระยะเวลาล่วงหน้าได้ไม่เกิน 3 เดือน หรือระยะเวลาสิ้นสุดสิทธิ์ไป แล้วจะต้องไม่เกิน 6 เดือน

ถาม 9 : กรณีสิ้นสุดสิทธิ์เกิน 6 เดือนไปแล้ว บริษัทจะต้องดำเนินการอย่างไร
ตอบ1. ติดต่อสำนักงานเพื่อขอรับสิทธิ์การส่งเสริมเพิ่มเติม
2. ดำเนินการขออนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบและสูตรการผลิตใหม่กับ สกท.
3. บริษัทจะดำเนินธุรกรรมภายใต้รหัสโครงการใหม่ที่ลงท้ายด้วยอักษร A เช่น เดิมรหัสโครงการ 12345611 เปลี่ยนเป็น 1234561A
4. ขออนุมัติกำหนดระยะเวลาเริ่มต้น และสิ้นสุดใหม่
5. สำหรับรหัสโครงการเดิมบริษัทจะไม่สามารถทำการสั่งปล่อยวัตถุดิบได้ ซึ่งหากยังคงมีปริมาณ วัตถุดิบคงเหลือ (BALANCE) ให้บริษัททำการเคลียร์โดยการตัดบัญชี หรือปรับยอดวัตถุดิบ


ถาม 10 : ขั้นตอนการขอขยายระยะเวลา บริษัทจะต้องดำเนินการอย่างไรบ้าง
ตอบ1. ส่งคำร้องขยายระยะเวลาผ่ำน http://rmts.boi.go.th
2. ระบบจะตรวจสอบข้อมูลว่ามีใบขนสินค้าขาออกที่เกิน 1 ปี และบริษัทยังไม่นำมาตัดบัญชีวัตถุดิบหรือไม่
3. กรณีพบว่าไม่มี เจ้าหน้าที่จะพิจารณาอนุมัติขยายระยะเวลาในระบบอัตโนมัติ
4. หากพบว่ามีบริษัทจะต้องยื่นความจำนงค์การใช้สิทธิ์ใบขนสินค้าขาออกที่คงค้างเกิน 1 ปี โดย ส่งคำร้องด้วยระบบ IC ONLINE SYSTEM


ถาม 11 : การสั่งปล่อยวัตถุดิบประเภทขอคืนอากร หรือถอนธนาคารค้ำประกัน กรณีบริษัทไม่สะดวกหรือลืมมารับ หนังสืออนุมัติ สมาคมมีบริการส่งเอกสารให้บริษัทหรือไม่
ตอบกรณีบริษัทมีความประสงค์ให้สมาคมส่งเอกสารทางไปรษณีย์ให้กับบริษัทนั้น สามารถแจ้งขอใช้ บริการเคาน์เตอร์เซอร์วิส หรือ หากเกิน 30 วันบริษัทไม่ติดต่อรับเอกสารสมาคมจะจัดส่งเอกสารให้กับบริษัท เช่นกัน ซึ่งจะมีค่าบริการในการจัดส่ง

ถาม 12 : บริษัทได้ทำการสั่งปล่อย โดยชื่อที่ใช้สั่งปล่อย สกท.อนุมัติในบัญชีเป็นวัสดุจำเป็น จึงขอสอบถามว่ากรณีดังกล่าวบริษัทได้รับสิทธิ์ยกเว้นภาษีอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่
ตอบกรณีชื่อดังกล่าวหาก สกท. อนุมัติเป็นวัตถุดิบบริษัทจะได้รับสิทธิ์ยกเว้นทั้งภาษีอากรและ ภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่หากชื่อนั้นอนุมัติเป็นวัสดุจำเป็น บริษัทจะได้ยกเว้นภาษีอากรเท่านั้น

ถาม 13 : เนื่องจากเป็นผู้รับการส่งเสริมการลงทุนรายใหม่ หากต้องการทราบว่าบริษัทได้รับสิทธิและประโยชน์ อะไรบ้าง จะทราบได้อย่างไร
ตอบบริษัทสามารถตรวจสอบสิทธิและประโยนช์ได้จากบัตรส่งเสริมที่ได้รับจาก สกท.

ถาม 14 : งานสั่งปล่อยวัตถุดิบประเภทขอคืนอากร มีกำหนดระยะเวลาในการทำเรื่องขอคืนอากรหรือไม่
ตอบการสั่งปล่อยวัตถุดิบประเภทขอคืนอากร บริษัทจะต้องขอคืนภายใน 2 ปีนับแต่วันนำเข้ำ สำหรับกรณีสิ้นสุดสิทธิ์จะต้องขอคืนภายใน 1 ปี นับจากวันสิ้นสุดสิทธิ์

ถาม 15 : บริษัทยื่นสั่งปล่อยประเภทยกเว้นอากร ผ่านระบบ IC ONLINE SYSTEM ระบบแจ้งว่า ปริมาณนำข้าไม่เพียงพอในการสั่งปล่อย บริษัทจะต้องดำเนินการอย่างไร
ตอบกรณีดังกล่าวหมายถึง ปริมาณนำเข้าคงเหลือ มีน้อยกว่าปริมาณที่บริษัททำการสั่งปล่อยวัตถุดิบ แสดงว่าตัวเลขปริมาณวัตถุดิบคงเหลือ (Balance) มีปริมาณมาก ซึ่งเกิดจากบริษัทอาจจะนำเข้ามากกว่าส่งออก ดังนั้นบริษัทจะต้องนำใบขนสินค้าขาออกมาทำการตัดบัญชีเพื่อลดยอด Balance ปริมาณนำเข้า คงเหลือตัวเลขจึงจะเพิ่มขึ้น

ถาม 16 : บริษัทไม่สามารถสั่งปล่อยวัตถุดิบได้ ระบบแจ้งว่า ปริมาณนำเข้าคงเหลือติดลบ สาเหตุเกิดจากอะไรและ ต้องดำเนินการอย่างไร
ตอบความหมายของคำว่า ปริมาณนำเข้าคงเหลือติดลบ คือ ตัวเลขปริมาณวัตถุดิบคงเหลือ มีมากกว่า ตัวเลข Max Stock ที่ได้รับอนุมัติ ดังนั้นบริษัทจะต้องนำใบขนสินค้าขาออกมาทำการตัดบัญชีเพื่อ Balance ลดลง

ถาม 17 : กรณีบริษัทยื่นเรื่องกำหนดวันนำเข้าครั้งแรกไม่ถูกต้อง บริษัทประสงค์จะขอแก้ไขวันนำเข้ำครั้งแรกจะต้อง ดำเนินการอย่างไรต่อไป
ตอบบริษัททำหนังสือขอแก้ไขวันนำเข้า โดยแนบหลักฐานที่เกี่ยวข้อง สมาคมนำเสนอ สกท. พิจารณา

ถาม 18 : กรณีบริษัทยื่นขอขยายระยะเวลานำเข้าทราบว่า สกท. อนุมัติแล้ว บริษัทจะต้องนำเอกสารมาทำก่ำรบันทึกระยะเวลากับสมาคมหรือไม่
ตอบตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2562 สกท. เปิดให้บริการยื่นคำขอขยายระยะเวลาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเจ้าหน้าที่รับคำขอและพิจารณาอนุมัติผ่านระบบ ดังนั้น บริษัทจึงไม่ต้องนำเอกสารขยายระยะเวลำมายื่นที่สมาคม

ถาม 19 : กรณีบริษัทได้รับอนุมัติบัตรส่งเสริมปรับปรุงประสิทธิภาพทดแทนบัตรส่งเสริมฉบับเดิม ดังนั้นระยะเวลา นำเข้าสำหรับบัตรส่งเสริมฉบับใหม่จะถูกกำหนดอย่างไร
ตอบกำหนดวันนำเข้าครั้งแรกเป็นวันเริ่มต้นใช้สิทธิและประโยชน์นำเข้าวัตถุดิบครั้งแรกของบัตร ส่งเสริมฉบับเดิม

ถาม 20 : กรณีบริษัททำหนังสืออนุมัติสั่งปล่อยสูญหายต้องการขอรับรองเอกสารจะต้องดำเนินการอย่างไร
ตอบ1. ดาวน์โหลดแบบฟอร์มขอรับรองสำเนำ www.ic.or.th
2. หนังสือแจ้งความเอกสารสูญหาย (ฉบับจริง)
3. หนังสือมอบอำนาจ


หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


Total pageviews 4,000,578 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.