ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 อื่น ๆ : การยกเลิกบัตรส่งเสริม

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

การยกเลิกบัตรส่งเสริม

      เมื่อผู้ได้รับส่งเสริมไม่ประสงค์จะเป็นผู้ได้รับส่งเสริมอีกต่อไป ผู้ได้รับส่งเสริมสามารถขอยกเลิกบัตรส่งเสริมได้

      ภายหลังจากยกเลิกบัตรส่งเสริมแล้ว ผู้ได้รับส่งเสริมอาจจะดำเนินการตามโครงการนั้นต่อไป โดยไม่ได้รับสิทธิประโยชน์จาก BOI ก็ได้

      ในการยกเลิกบัตรส่งเสริม ผู้ได้รับส่งเสริมอาจมีภาระภาษีอากรที่จะต้องชำระคืนต่อรัฐ ดังนี้

  1. กรณีที่ไม่ได้รับอนุญาตให้เปิดดำเนินการ
    จะพิจารณาว่าไม่เคยเป็นผู้ได้รับส่งเสริมตั้งแต่ต้น และจะต้องชำระภาษีอากร ดังนี้
    1. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
          จะต้องชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เคยใช้สิทธิยกเว้นภาษีไปแล้วคืนทั้งหมด พร้อมเงินเพิ่มและเบี้ยปรับ
    2. อากรขาเข้าเครื่องจักร
          จะต้องชำระอากรขาเข้าเครื่องจักรและภาษีมูลค่าเพิ่มย้อนหลัง ตามสภาพ ณ วันนำเข้า พร้อมเงินเพิ่มและเบี้ยปรับ
    3. อากรขาเข้าวัตถุดิบ
          จะต้องชำระอากรขาเข้าวัตถุดิบและภาษีมูลค่าเพิ่มย้อนหลัง ตามสภาพ ณ วันนำเข้า พร้อมเงินเพิ่มและเบี้ยปรับ
  2. กรณีที่ได้รับอนุญาตให้เปิดดำเนินการแล้ว และปฏิบัติตามเงื่อนไขถูกต้องโดยตลอด
    1. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
          ไม่มีภาระภาษีที่ต้องชำระคืน
    2. อากรขาเข้าเครื่องจักร
          จะต้องชำระอากรขาเข้าเครื่องจักรและภาษีมูลค่าเพิ่มตามสภาพ ณ วันที่อนุมัติให้ยกเลิกบัตรส่งเสริม โดยไม่ต้องชำระเงินเพิ่มหรือเบี้ยปรับ
            แต่หากเครื่องจักรมีอายุเกินกว่า 5 ปีนับจากวันนำเข้า จะอนุญาตให้ตัดบัญชีเครื่องจักรเพื่อปลอดภาระภาษี จึงจะไม่มีภาระที่ต้องชำระอากรขาเข้าเครื่องจักรคืนในส่วนนี้
    3. อากรขาเข้าวัตถุดิบ
          กรณีที่มีวัตถุดิบค้างคงเหลือในบัญชี จะต้องชำระอากรขาเข้าวัตถุดิบและภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามสภาพ ณ วันนำเข้า พร้อมเงินเพิ่มและเบี้ยปรับ สำหรับวัตถุดิบที่คงเหลือในบัญชี และไม่สามารถส่งออกไปต่างประเทศได้

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 32,411
Total pageviews 4,000,993 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.