ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 วัตถุดิบมาตรา 30 : ภาพรวม

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

ภาพรวมเกี่ยวกับการใช้สิทธิประโยชน์ด้านวัตถุดิบ มาตรา 30

      การใช้สิทธิประโยชน์ลดหย่อนอากรขาเข้าวัตถุดิบ ตามมาตรา 30 มีขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้

  1. ขออนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบและวัสดุจำเป็น
  2. ขออนุมัติปริมาณอนุมัติสูงสุดของวัตถุดิบและวัสดุจำเป็น
  3. ขออนุมัติสูตรการผลิต
  4. นำเข้า และขอสั่งปล่อยวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นโดยการลดหย่อนอากรขาเข้า
  5. ขออนุมัติทำลายหรือจำหน่ายส่วนสูญเสียที่เกิดจากการผลิต
  6. รายงานการใช้วัตถุดิบและวัสดุจำเป็นที่นำเข้ามาโดยใช้สิทธิ์มาตรา 30

เปรียบเทียบการใช้สิทธิ์ตามมาตรา 30 และ 36


มาตรา 30มาตรา 36
วัตถุประสงค์ลดหย่อนเฉพาะอากรขาเข้าวัตถุดิบที่นำเข้ามาผลิตเป็นสินค้ายกเว้นอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับวัตถุดิบที่นำเข้ามาผลิตเพื่อการส่งออก
ระยะเวลานำเข้า5 ปี (อนุมัติคราวละ 1 ปี)1 ปี หรือ 5 ปี ตามที่ตั้งโรงงาน
การขยายเวลา-ขยายให้ครั้งละ 2 ปี
รายการวัตถุดิบต้องไม่มีผลิตหรือกำเนิดในประเทศอนุมัติให้ทุกรายการ
ปริมาณอนุมัติสูงสุดคำนวณจากกำลังการผลิต 1 ปีคำนวณจากกำลังการผลิต 6 เดือน
ประเภทของบัญชีบัญชีไม่หมุนเวียน (Max Import)บัญชีหมุนเวียน (Revolving Stock)
สูตรการผลิตอนุมัติตามปริมาณที่ใช้จริง
ส่วนสูญเสียในสูตรเฉพาะวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นที่นำเข้ามาโดยมีหน่วยนับเป็นน้ำหนัก ปริมาตร หรือพื้นที่
การตัดบัญชียื่นรายงานปริมาณการใช้วัตถุดิบภายใน 1 เดือนนับจากวันสิ้นสุดสิทธิ์ยื่นตัดบัญชีภายใน 1 ปีนับจากวันที่ส่งออก


นิยามของวัตถุดิบและวัสดุจำเป็น

  • วัตถุดิบ (Raw Material)
          หมายถึง ของที่ใช้ในการผลิต หรือผสม หรือประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งบางครั้งอาจไม่คงสภาพเดิมเมื่อผ่านกระบวนการแล้ว ทั้งนี้ ให้หมายรวมถึงของที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ด้วย

  • วัสดุจำเป็น (Essential Material)
          หมายถึง ของซึ่งจำเป็นต้องใช้และเมื่อใช้แล้วสิ้นเปลืองในการผลิต หรือผสม หรือประกอบเป็นผลิตภัณฑ์หรือผลิตผล เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐาน ช่วยลดการสูญเสีย และเพิ่มผลผลิตสำหรับผลิตภัณฑ์หรือผลิตผลดังกล่าว

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 11,485
Total pageviews 4,000,964 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.