ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 RMTS : การสั่งปล่อยวัตถุดิบ

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

การสั่งปล่อยวัตถุดิบ

    การสั่งปล่อยวัตถุดิบ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ

  1. การสั่งปล่อยยกเว้นอากร
  2. การสั่งปล่อยค้ำประกัน
  3. การสั่งปล่อยถอนค้ำประกัน
  4. การสั่งปล่อยถอนค้ำประกันไม่เต็มจำนวน
  5. การสั่งปล่อยเพื่อขอคืนอากร


ความหมายและข้อกำหนดของโครงสร้างข้อมูล

No.ชื่อฟีลด์ประเภทข้อมูลความยาวคำอธิบายและเงื่อนไข
1Proj_codeตัวอักษร8รหัสโครงการ (Project Code)
ไม่เป็นค่าว่าง และทุกบรรทัดต้องมีค่าเหมือนกัน
2Doc_noตัวอักษร8เลขที่งวด
ไม่เป็นค่าว่าง และต้องไม่ซ้ำกับที่เคยนำเข้ามาแล้ว
3Invoiceตัวอักษร35เลขที่อินวอยซ์
ไม่เป็นค่าว่าง และต้องไม่ซ้ำกับที่เคยนำเข้ามาแล้ว หากซ้ำต้องยกเลิกงวดเดิมก่อน หรือไม่เป็นประเภทการสั่งปล่อยเดียวกัน
4Inv_dateตัวอักษร10วันที่ของอินวอยซ์
ไม่เป็นค่าว่าง บันทึกในรูป DD/MM/YYYY เช่น 06/09/2013
5Desc_1ตัวอักษร512ชื่อวัตถุดิบที่นำเข้าตามอินวอยซ์
ไม่เป็นค่าว่าง
6Desc_2ตัวอักษร254เป็นค่าว่างได้ หรือเป็นค่า Item No., Part No., Size No. เป็นต้น
7Qtyตัวเลข18 หลัก
และ 6 ทศนิยม
ปริมาณนำเข้า
ไม่เป็นค่าว่าง
8UOMตัวอักษร3หน่วยวัตถุดิบ
ไม่เป็นค่าว่าง
ต้องเป็นหน่วยในฐานข้อมูลรหัสสถิติของกรมศุลกากร
ต้องตรงกับบัญชีรายการวัตถุดิบ (MML)
9Grp_noตัวอักษร6รหัสวัตถุดิบ
ไม่เป็นค่าว่าง
ต้องตรงกับบัญชีรายการวัตถุดิบ (MML)
10Byตัวอักษร2ช่องทางการนำเข้า
เป็นค่าว่าง (หรือเป็นค่า A หากต้องการรับเอกสารสั่งปล่อยที่สุวรรณภูมิ)
11Imp_lineตัวอักษร4ลำดับที่ใบขนสินค้าขาเข้า
ไม่เป็นค่าว่าง และห้ามซ้ำกัน
12Inv_lineตัวอักษร4ลำดับที่ในอินวอยซ์
ไม่เป็นค่าว่าง แต่ซ้ำกันได้
13App_noตัวอักษร20เลขที่หนังสือสั่งปล่อย
บันทึกเมื่อประเภทการสั่งปล่อยเป็น 3, 4 หรือ 5
14Imp_entryตัวอักษร14เลขที่ใบขนสินค้าขาเข้า
บันทึกเมื่อประเภทการสั่งปล่อยเป็น 3, 4 หรือ 5
15Imp_dateตัวอักษร10วันที่ใบขนสินค้าขาเข้า
บันทึกในรูป DD/MM/YY
บันทึกเมื่อประเภทการสั่งปล่อยเป็น 3, 4 หรือ 5
16Ess_matตัวอักษร1ประเภทวัตถุดิบ
บันทึกเมื่อประเภทการสั่งปล่อยเป็น 2 ก่อนได้รับอนุมัติ MML ดังนี้
Y คือ วัสดุจำเป็น
N คือ วัตถุดิบ


ข้อกำหนดในการคีย์ข้อมูลสั่งปล่อยวัตถุดิบและวัสดุจำเป็น

ประเภท
สั่งปล่อย
ข้อกำหนด
1-5
-งวดที่สั่งปล่อย (Doc_no) และเลขที่อินวอยซ์ (Invoice) ต้องเป็น 1 ต่อ 1 จะใช้อินวอย์ซ้ำกับที่เคยยื่นแล้วไม่ได้ เว้นแต่จะยกเลิกการสั่งปล่อยงวดเดิมก่อน
-ลำดับที่ในใบขน (Imp_line) ห้ามคีย์ซ้ำกัน
-ลำดับที่ในอินวอยซ์ (Inv_line) คีย์ซ้ำกันได้
-คีย์รายการวัตถุดิบเฉพาะที่ต้องการใช้สิทธิเท่านั้น
3,4,5
-เลขที่ใบขนซ้ำกันได้ แต่เลขที่อินวอยซ์ห้ามซ้ำ
-ต้องคีย์เลขที่ใบขนขาเข้าและวันนำเข้าทุกครั้ง
3,4
-คีย์เลขที่หนังสืออนุมัติ (เลขที่ อก.)
3
-กรณียังไม่มี MML ต้องระบุประเภทวัตถุดิบที่นำเข้าว่าเป็น Y (วัสดุจำเป็น) หรือ N (วัตถุดิบ) ในช่อง Ess_mat
4
-การสั่งปล่อยถอนธนาคารค้ำประกัน หากคีย์ปริมาณวัตถุดิบ (Qty) ไม่ครบตามจำนวนที่ค้ำประกันไว้ ระบบจะออกหนังสือแจ้งกรมศุลกากรโดยอัตโนมัติเพื่อให้เรียกเก็บภาษีอากรในส่วนที่เหลือ


ประเภท
สั่งปล่อย
1 อินวอยซ์ ต่อ 1 งวดสั่งปล่อย เลขที่อินวอยซ์ซ้ำได้ เลขที่ใบขนขาเข้าซ้ำได้ ลำดับที่ในอินวอยซ์ซ้ำได้ ลำดับที่ใบขนขาเข้าซ้ำได้ คีย์เลขที่ใบขนขาเข้า คีย์วันนำเข้า คีย์เลขที่ อก. คีย์วันที่ อก.
1ยกเว้น
อากรขาเข้า
OXXOXXXXX
2ใช้ธนาคาร
ค้ำประกัน
OXXOXXXXX
3ถอนค้ำประกัน
เต็มจำนวน
OXOOXOOOO
4ถอนค้ำประกัน
ไม่เต็มจำนวน
OXOOXOOOO
5คืนอากรOXOOXOOXX

      ทั้งนี้ การสั่งปล่อยประเภท 3-5 ดำเนินการได้อินวอยซ์ละครั้งเดียวเท่านั้น และสำหรับประเภทที่ 4 จะออกหนังสือเรียกเก็บภาษีส่วนที่ถอนค้ำประกันไม่ครบโดยอัตโนมัติ


การสั่งปล่อยใช้ธนาคารค้ำประกัน และการสั่งปล่อยถอนค้ำประกัน

  1. BOI จะอนุญาตให้ใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากรคราวละ 1 ปี
  2. หากสั่งปล่อยถอนค้ำประกันภายในกำหนดที่ได้รับอนุมัติไว้ไม่ได้ จะต้องยื่นขอขยายเวลาค้ำประกัน ก่อนที่ระยะเวลาค้ำประกันที่อนุมัติไว้เดิมจะสิ้นสุดลง
  3. การสั่งปล่อยถอนค้ำประกัน จะทำได้หลังจากที่ได้รับอนุมัติ MML แล้ว

การสั่งปล่อยคืนอากร

  1. ต้องสั่งปล่อยคืนอากรภายใน 2 ปี นับจากวันนำเข้า
  2. หากสิทธิประโยชน์มาตรา 36 สิ้นสุด จะต้องสั่งปล่อยคืนอากรภายใน 1 ปี นับจากวันที่สิทธิประโยชน์สิ้นสุดลง

การยกเลิกหนังสืออนุมัติสั่งปล่อย

  1. กรณีที่คำขอสั่งปล่อยอยู่ระหว่างพิจารณา
    • ติดต่อพนักงานสมาคม IC เพื่อขอยกเลิกคำร้อง
    • สมาคม IC จะยกเลิกให้โดยไม่ต้องรอการยืนยันจากกรมศุลกากร
  2. กรณีที่คำขอสั่งปล่อยได้รับอนุมัติแล้ว
    • บริษัทต้องนำหนังสืออนุมัติสั่งปล่อยที่ต้องการยกเลิกมายื่นที่สมาคม IC
    • สมาคม IC จะยกเลิกหนังสืออนุมัติสั่งปล่อย หลังจากที่กรมศุลกากรยืนยันตอบกลับ
    • บริษัทต้องรับหนังสืออนุมัติสั่งปล่อยที่ผ่านการยกเลิกกลับไปเก็บไว้เป็นหลักฐาน
  3. กรณียกเลิกโดยไม่ต้องการใช้สิทธิสั่งปล่อยในงวดนั้นอีก
    • บริษัทยื่นแบบฟอร์มแจ้งยกเลิกการใช้สิทธิ BOI (ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม)
    • นำหนังสืออนุมัติสั่งปล่อยที่ต้องการยกเลิกมายื่นที่สมาคม IC
    • สมาคม IC จะยกเลิกหนังสืออนุมัติสั่งปล่อย หลังจากที่กรมศุลกากรยืนยันตอบกลับ
    • บริษัทต้องรับหนังสืออนุมัติสั่งปล่อยที่ผ่านการยกเลิกกลับไปเก็บไว้เป็นหลักฐาน

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 14,310
Total pageviews 4,000,301 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.