ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 ประเภทของสต็อกวัตถุดิบ : RMTS online version ปรับปรุงใหม่

ภาพรวม/ความคืบหน้า หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ
ข้อมูลไม่เป็นทางการ
update : 1 ธันวาคม 2565

ประเภทของสต็อกวัตถุดิบ

 ภาพรวม
    BOI กำหนดสต็อกของวัตถุดิบเป็น 2 ประเภท ดังนี้
  1. สต็อกแบบหมุนเวียน (Revolving stock)
        คือ สต็อกที่สามารถนำเข้าวัตถุดิบได้ ตราบเท่าที่ปริมาณวัตถุดิบค้างคงเหลือในบัญชี ไม่เกินกว่าปริมาณสูงสุดที่ได้รับอนุมัติ
        ดังนั้น หากบริษัทผลิตส่งออก และตัดบัญชีเพื่อลดปริมาณวัตถุดิบค้างคงเหลือในบัญชีอย่างสม่ำเสมอ ก็จะสามารถนำวัตถุดิบเข้ามาได้อย่างต่อเนื่อง
  2.     แต่ในทางกลับกัน หากบริษัทผลิตส่งออก แต่ไม่ตัดบัญชี เมื่อปริมาณวัตถุดิบค้างคงเหลือในบัญชี เต็มปริมาณสูงสุดที่ได้รับอนุมัติ ก็จะไม่สามารถนำวัตถุดิบเข้ามาได้อีก
        การอนุมัติบัญชีสต็อกแบบหมุนเวียน จะใช้กับกิจการเกือบทุกประเภท โดยจะไม่กำหนดระยะเวลาเริ่มต้น-สิ้นสุดเป็นรอบปี แต่จะให้ตามระยะเวลาที่ได้รับสิทธิประโยชน์ตามมาตรานั้นๆ
        ดังนั้น หากบริษัทได้รับอนุมัติให้ขยายระยะเวลานำเข้าวัตถุดิบ ก็จะยังคงใช้บัญชีสต็อกหมุนเวียนนั้นได้ต่อไป

  3. สต็อกแบบไม่หมุนเวียน (Max import)
        คือ สต็อกที่สามารถนำเข้าวัตถุดิบได้รวมกันทั้งสิ้น ไม่เกินกว่าปริมาณสูงสุดที่ได้รับอนุมัติ ไม่ว่าจะมีการตัดบัญชี เพื่อลดปริมาณวัตถุดิบค้างคงเหลือในบัญชีแล้วหรือไม่ก็ตาม
        การอนุมัติบัญชีสต็อกแบบไม่หมุนเวียน แบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
    1. กรณีกิจการผลิตสินค้าที่ต้องใช้เวลาในการผลิตเป็นเวลานาน เช่น 6 เดือน 12 เดือน ซึ่งไม่สามารถอนุมัติบัญชีสต็อกแบบหมุนเวียนได้ เนื่องจากส่วนต่างของปริมาณนำเข้าและปริมาณตัดบัญชี ไม่เพียงพอที่จะหมุนเวียนมาใช้เพื่อนำเข้าในรอบใหม่ (รอบการผลิตใช้เวลานาน) ได้แก่ กิจการประเภท 4.14 กิจการผลิตโครงสร้างโลหะสำหรับงานก่อสร้าง หรืองานอุุตสาหกรรม หรือการซ่อม Platform สำหรับอุุตสาหกรรมปิโตรเลียม ซึ่งจะอนุมัติปริมาณสต็อกตามยอดคำสั่งซื้อของแต่ละรอบปี
    2. กรณีการผ่อนผันให้นำเข้าชิ้นงานกึ่งสำเร็จรูป (semi-finished part) เป็นการชั่วคราว สำหับกิจการผลิตทั่วไป โดยจะมีการกำหนดปริมาณ และ/หรือระยะเวลา ที่จะผ่อนผันให้นำเข้า ตามความเหมาะสม

ประเภทกิจการ ประเภทวัตถุดิบ มาตรา และประเภทสต็อก

1. กิจการทั่วไป
ประเภทวัตถุดิบม.36(1)ม.30ม.30/1ม.36(2)
วัตถุดิบหมุนเวียนmax importmax importmax import
วัสดุจำเป็นหมุนเวียนmax importmax import-
ชิ้นงานกึ่งสำเร็จรูปmax importmax import--
สินค้าที่นำกลับมาซ่อมเพื่อส่งออกหมุนเวียน---

2. กิจการ IPO/ITC
ประเภทวัตถุดิบม.36(1)ม.36(2)
ซื้อมา-ขายไปจัดชุดว่าจ้างผลิต
วัตถุดิบหมุนเวียนหมุนเวียนหมุนเวียนmax import
วัสดุจำเป็น--หมุนเวียน-
ชิ้นงานกึ่งสำเร็จรูป----
สินค้าที่นำกลับมาซ่อมเพื่อส่งออก-หมุนเวียนหมุนเวียน-

3. กิจการประเภท 4.14 Fabrication Industry และการซ่อม Platform สำหรับอุุตสาหกรรมปิตรเลียม
ประเภทวัตถุดิบม.36(1)ม.30ม.30/1ม.36(2)
วัตถุดิบmax importmax importmax importmax import
วัสดุจำเป็นmax importmax importmax import-
ชิ้นงานกึ่งสำเร็จรูปmax importmax import--
สินค้าที่นำกลับมาซ่อมเพื่อส่งออกหมุนเวียน---


แนวทางการอนุมัติปริมาณสต็อกสูงสุด ของวัตถุดิบแต่ละประเภท

มาตราสิ่งที่นำเข้าปริมาณสต็อกสูงสุด
ม.36(1)
  • วัตถุดิบ
  • วัสดุจำเป็น
ตามสัดส่วนการส่งออก
และไม่เกินกำลังผลิต 4 เดือนตามบัตรส่งเสริม
  • ชิ้นส่วนกึ่งสำเร็จรูป
ตามปริมาณและระยะเวลาที่ได้รับผ่อนผัน เช่น
  • ไม่เกิน 10% ของปริมาณผลิตในแต่ละปี หรือ
  • ไม่เกินปริมาณหรือสัดส่วนที่กำหนด โดยไม่กำหนดระยะเวลา หรือ
  • ไม่เกินระยะเวลาที่กำหนด แต่ไม่จำกัดปริมาณ (คือ 100% ของกำลังผลิต) หรือ
  • ไม่เกินปริมาณหรือสัดส่วนที่กำหนด และไม่เกินระยะเวลาที่กำหนด เป็นต้น
  • สินค้านำกลับเข้ามาซ่อมเพื่อส่งออก
ไม่เกิน 5% ของกำลังผลิตตามบัตรส่งเสริม
ม.30
  • วัตถุดิบ
  • วัสดุจำเป็น
ตามสัดส่วนการจำหน่ายในประเทศ
และตามคำสั่งซื้อของลูกค้า รวมไม่เกินกำลังผลิตตามบัตรส่งเสริม คราวละไม่เกิน 1 ปี
  • ชิ้นส่วนกึ่งสำเร็จรูป
ตามปริมาณและระยะเวลาที่ได้รับผ่อนผัน คราวละไม่เกิน 1 ปี
  • สินค้านำกลับเข้ามาซ่อมเพื่อส่งออก
ไม่อยู่ในข่ายอนุมัติ
ม.36(2)
  • ของที่นำเข้ามาเพื่อส่งออก
ตามปริมาณที่ได้รับอนุมัติ
ม.30/1
  • ของที่นำเข้ามาเพื่อใช้ในการวิจัยพัฒนา
ตามปริมาณที่ได้รับอนุมัติ


ความคืบหน้าระบบ new RMTS online หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 1,037
Total pageviews 4,036,416 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.