ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 บัญชีรายการวัตถุดิบ : RMTS online version ปรับปรุงใหม่

ภาพรวม/ความคืบหน้า หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ
ข้อมูลไม่เป็นทางการ
update : 1 ธันวาคม 2565

บัญชีรายการวัตถุดิบ

 ภาพรวม

    บัญชีรายการวัตถุดิบที่จะต้องจัดเตรียม เพื่อประกอบการขออนุมัติบัญชีสต็อกสูงสุด ประกอบด้วยข้อมูลดังนี้

 1. ข้อมูลพื้นฐาน

GRP_NODESCUOMESS_MATTHAI_DESCPHOTO
000001AMTRNคำอธิบาย 1000001.jpg
000002AKGMNคำอธิบาย 2000002.jpg
000003BGRMYคำอธิบาย 3000003.jpg
000004CC62Sคำอธิบาย 4000004.jpg

ชื่อคอลัมน์ความหมายเงื่อนไข / ข้อกำหนด
GRP_NOรหัสกรุ๊ปวัตถุดิบ
  • ประกอบด้วยตัวเลขและ/หรือตัวอักษร รวม 6 หลัก
  • ใช้อ้างอิงในงานต่างๆ เช่น การอนุมัติสต็อก สูตรการผลิต การสั่งปล่อย การตัดบัญชี ฯ
  • เพื่อความสะดวกในการใช้งาน แนะนำให้กำหนดเป็นตัวเลขเรียงลำดับตั้งแต่ 000001, 000002, ....
DESCชื่อหลักวัตถุดิบ
  • เป็นชื่อสามัญที่สื่อความหมายถึงวัตถุดิบนั้นโดยตรง
  • ใช้เป็นชื่อในการพิจารณาอนุมัติปริมาณสต็อกสูงสุด และสูตรการผลิต
  • สำคัญ!
        ชื่อหลักแต่ละชื่อ อนุญาตให้มีหน่วยวัตถุดิบในแต่ละ dimension ได้ไม่เกิน 1 หน่วย

        หรืออีกนัยหนึ่งคือ ชื่อหลักจะต้องไม่ซ้ำกันกับกรุ๊ปอื่น เว้นแต่หน่วยวัตถุดิบจะเป็นคนละ dimension กัน
        เช่น วัตถุดิบ A หากได้รับอนุมัติหน่วยวัตถุดิบเป็นเมตร (MTR) แล้ว จะขอวัตถุดิบ A ที่มีหน่วยใน dimension เดียวกัน (กรณีนี้คือหน่วยเป็นความยาว) เช่น เซ็นติเมตร (CMT), หลา (YRD) หรือนิ้ว (INH) อีกไม่ได้ แต่สามารถขอชื่อวัตถุดิบ A ที่มีหน่วยวัตถุดิบใน dimension อื่น เช่น ชิ้น (C62) หรือกิโลกรัม (KGM) หรือตารางเมตร (MTX) ได้
        ยกเว้นกรณีที่เป็นวัตถุดิบคนละประเภทกัน เช่น วัตถุดิบ A เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์หนึ่ง แต่เป็นวัสดุจำเป็น/หรือเป็นชิ้นส่วนกึ่งสำเร็จรูปของผลิตภัณฑ์อื่น จะอนุญาตให้มีหน่วยวัตถุดิบเป็นหน่วยอื่นใน dimension เดียวได้ เนื่องจากพิจารณาว่าเป็นคนละประเภทกัน
        เช่น วัตถุดิบ A หน่วย KGM เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์หนึ่ง แต่วัตถุดิบ A หน่วย GRM เป็นวัสดุจำเป็นของอีกผลิตภัณฑ์หนึ่ง กรณีจะอนุญาตให้ได้ตามข้อเท็จจริงนั้นๆ
UOMหน่วยวัตถุดิบ
  • เป็นหน่วยตามรหัสสถิติที่ให้ใช้ในระบบ RMTS จำนวน 23 หน่วย
  • วัตถุดิบที่มีชื่อหลักเหมือนกัน หากมีหน่วยวัตถุดิบใน dimension ต่างกัน สามารถขอเป็นคนละ Group ได้
    หน่วยวัตถุดิบแยกตาม dimension
ESS_MATประเภทวัตถุดิบ แบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้
  • N คือ วัตถุดิบ
  • Y คือ วัสดุจำเป็น
  • S คือ ชิ้นงานกึ่งสำเร็จรูป (semi-finished part) ที่ผ่อนผันให้นำเข้าเป็นการชั่วคราว
  • R คือ สินค้าที่นำกลับเข้ามาซ่อมเพื่อส่งออก (สินค้า return)
THAI_DESCคำอธิบายวัตถุดิบ
  • (ยังไม่กำหนดชื่อคอลัมน์นี้)
  • คำอธิบายวัตถุดิบ และลักษณะการใช้งาน
PHOTOรูปภาพวัตถุดิบ
  • (ยังไม่กำหนดชื่อคอลัมน์นี้)
  • หากระบุชื่อไฟล์ให้ตรงกับ GRP_NO ไม่ต้องกรอกข้อมูลในคอลัมน์นี้
  • ขนาดสูงสุดของภาพ และขนาดสูงสุดของไฟล์ จะกำหนดในภายหลัง

 2. ชื่อรองวัตถุดิบ

GRP_NODESCUOMSUB_DESCTARIFF
000001AMTRA1 
A2 
000002AKGMA2 
A3 
000003BGRMB 
000004CC62C 

ชื่อคอลัมน์ความหมายเงื่อนไข / ข้อกำหนด
SUB_DESCชื่อรอง
  • (ยังไม่กำหนดชื่อคอลัมน์นี้)
  • เป็นชื่อที่ใช้ในการนำเข้าวัตถุดิบ และมีความหมายเดียวกับชื่อหลักของกรุ๊ปนั้นๆ
  • สำคัญ!
    • ในแต่ละกรุ๊ป จะต้องมีชื่อรองอย่างน้อย 1 ชื่อเสมอ มิฉะนั้น จะใช้สิทธินำเข้าวัตถุดิบ หรือโอนสิทธิตัดบัญชีให้แก่ผู้จำหน่ายชิ้นส่วนนั้น (BOI vendor) ไม่ได้
    • ระบบจะไม่นำชื่อหลัก มากำหนดเป็นชื่อรอง
      หากต้องการใช้ชื่อหลักเป็นชื่อในการนำเข้า จะต้องระบุชื่อรองที่เป็นชื่อเดียวกับชื่อหลักด้วย
    • ชื่อรองต้องไม่ซ้ำกันในกรุ๊ปเดียวกัน เว้นแต่มีพิกัดศุลกากรต่างกัน
    • ชื่อรองต้องไม่ซ้ำกับชื่อรองในกรุ๊ปอื่น เว้นแต่ชื่อหลักของทั้ง 2 กรุ๊ปนั้นเป็นชื่อเดียวกัน
TARIFFพิกัดศุลกากร
  • ปกติไม่ต้องระบุ
  • ในอนาคต อาจพัฒนาระบบให้กวาดเก็บข้อมูลจากใบขนอิเล็กทรอนิกส์มาบันทึก หลังจากบริษัทเดินพิธีการศุลกากรแล้ว

อ่านต่อ -- ปริมาณสต็อกสูงสุด (Max Stock) --



ภาพรวม/ความคืบหน้า หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 1,392
Total pageviews 4,036,185 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.